Webboard
About Us
Advertising
Civil Engineering
General
Other
Structurals Design
soil
วิธีการเจาะสำรวจดิน (Soil Investigation Methods)
การเจาะสำรวจดิน (Soil Investigation) ซึ่งโดยทั่วไปจะสามารถทำการเจาะสำรวจดินได้โดยเครื่องเจาะแบบ Rotary Drilling Rig หรือ Motorized Drilling Rig โดยทำการเจาะแบบฉีดล้าง (Wash Boring) ใช้เครื่องสูบน้ำช่วยเจาะด้วยหัวกระทุ้ง (Chopping Bit)
Continue »
By admin | 31 July 2010 |
Civil Engineering
,
General
|
investigation
,
methods
,
soil
,
วิธีการเจาะสำรวจดิน
|
การเจาะสำรวจดิน ทำไมต้องเจาะสำรวจดิน soil investigation
เมื่อพูดถึง การเจาะสำรวจดิน (Soil Investigation) หลายคนอาจจะมีคำถามขึ้นในใจ (บางครั้งก็นอกใจ) ว่า “ทำไมต้องเจาะสำรวจดิน?” เจอคำถามแบบนี้ก็ตอบยากสักหน่อย เพราะต้องชักแม่น้ำทั้ง 5 มาอธิบายเพื่อให้มีหลักการและเหตุผล แต่เดี๋ยวก่อน!!! ถ้าคุณโทรมาถามภายใน 10 นาทีนี้ เราจะเอาเหตุผลหลักๆ มาอธิบาย
Continue »
By admin | 23 April 2010 |
Civil Engineering
,
General
|
investigation
,
soil
,
การเจาะสำรวจดิน
,
ทำไมต้องเจาะสำรวจดิน
,
เจาะสำรวจชั้นดิน
,
เจาะสำรวจดิน
|
Advertising by CivilClub
Search
Random Articles
เมื่อกล่าวถึง “นั่งร้าน” (Scaffolds) หลายๆท่านก็อาจจะมีร้านประจำกันบ้างแล้ว… – -” (น่าจะผิดงาน 555+) คนละร้านกันแล้วครับท่าน...
Continue »
อีกเพียงไม่กี่วัน (๒๖ ธันวาคม ๒๕๕๖) ก็จะสิ้นสุดปีพุทธศักราช ๒๕๕๕ และก้าวสู่ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ กันแล้วนะครับ ระยะเวลาและเส้นทางที่เรา “ชาวซีวิลคลับ” ได้ร่วมเดินทางกันมา ร่วมเติบโตกันมาก็กำลังจะย่างเข้าสู่ขวบปีที่ ๔ ซึ่งมันก็อาจจะดูไม่ได้เนิ่นนานอะไร...
Continue »
ปัญหาในงานก่อสร้าง (Problems in Construction) เมื่อเอ่ยถึงปัญหาในการทำงาน เราก็ต้องยอมรับว่าทุกๆงานย่อมมีปัญหา ไม่ว่าจะทำคนเดียวหรือทำเป็นทีม ยิ่งสำหรับงานก่อสร้างยิ่งแล้วใหญ่...
Continue »
การตรวจสอบและการควบคุมงานก่อสร้าง (Inspection & Construction Supervision) สำหรับคนที่เคยเห็นหรือยังไม่ได้ไปสัมผัสด้วยตนเอง...
Continue »
สิ่งปลูกสร้างชั่วคราว (Temporary Buildings) คือ อาคารหรือสิ่งก่อสร้างที่ทำขึ้นมาเป็นการชั่วคราวเพื่อใช้งานในพื้นที่ก่อสร้าง...
Continue »
วิศวกรโยธามือใหม่หลายๆคนคงจะสงสัยว่าการสำรวจพื้นที่ก่อสร้างนั้น เราจะต้องทำอะไรบ้างแล้วจะรู้ได้อย่างไรว่าสิ่งที่ทำนั้นแหมาะสมหรือเปล่า...
Continue »
เนื่องในวาระดิถีขึ้นปีใหม่พุทธศักราช ๒๕๕๕ ทีมงาน “ซีวิลคลับ” ขออำนวยอวยชัย ขออำนาจแห่งคุณความดีและอำนาจแห่งคุณพระศรีรัตนตรัย จงดลบันดาลให้ท่านสมาชิกซีวิลคลับและครอบครัว...
Continue »
เสายาว (Long Reinforced Concrete Columns or Slender Reinforced Concrete Columns) หมายถึง เสาที่มีความยาวถึงค่าที่เสาเมื่อรับน้ำหนักแล้วจะโก่งตัว เมื่อแรง P = 0 เสาจะเป็นเส้นตรง แต่เมื่อแรง P...
Continue »
สวัสดีครับพี่ๆ น้องๆ ชาววิศวกรรมโยธาทุกๆ คน และสำหรับผู้สนใจด้านงานช่างทั่วไปครับ พบกันเช่นเดิมครับ มีเรื่องมาเล่าสู่กันฟังครับ วันนี้ มีชื่อคำว่า “เหล็กเต็ม (โรงใหญ่) และเหล็กไม่เต็ม (โรงเล็ก) หรือเหล็กเบา”...
Continue »
สวัสดีครับ พี่ๆ น้องๆ ชาววิศวกรรมโยธาทุกๆ คน และสำหรับผู้ที่สนใจด้านงานช่างทั่วไปครับ พบกันเช่นเดิมครับ วันมีเรื่องมาเล่าสู่กันฟังครับ ก็เช่นเดิมครับ ผมมีเรื่องมาเล่าให้ฟังอีก วันนี้มีชื่อคำว่า “หนวดกุ้ง” กุ้งมันอยู่ในน้ำ แล้วจู่ๆ ทำไมมันกระโดดมาอยู่ใน ฐานราก ตึกราบ้านช่องได้ล่ะ…ซะงั้น...
Continue »
สวัสดีครับพี่ๆ น้องๆ ชาววิศวกรรมโยธาทุกๆ คนครับ ก็เหมือนเดิมครับ พบกันอีกแล้วครับท่าน มีเรื่องมาเล่าให้ฟังครับ มีคำชื่อว่า “ทับหลังเสาเอ็น” ไม่ใช่ “ทับหลังนารายณ์บรรทม” ที่คนอเมริกาบางคนเอาไปเก็บไว้ ต้องให้ “แอ๊ด คาราบาว”...
Continue »
ต้องสวัสดีพี่ๆน้องๆชาววิศวกรรมโยธาทุกๆ คนครับ ก็เช่นเหมือนเดิมครับ พบกันเช่นเดิมครับอีกแล้วครับ มีเรื่องมาเล่าให้ฟังครับ อาจจะมีวิชาการนิดหนึ่งน่ะครับ ตามที่พี่ๆ น้องๆ ควบคุมงานโครงการก่อสร้างทั่วไป ก็จะเห็นลูกปูนเล็กๆ กลมๆ หรือบางที่ ผู้รับเหมาก็จะทำเป็นสี่เหลี่ยมเล็กๆ...
Continue »
ก็เป็นธรรมเนียมครับก่อนอื่น ต้องสวัสดีพี่ๆ น้องๆ ชาววิศวกรรมโยธาทุกๆ คนครับ ก็เหมือนเดิมครับพบกัน เช่นเดิมครับอีกแล้วครับท่าน มีเรื่องมาเล่าให้ฟังครับ มีอยู่ว่า “เด็กๆ มักชอบเล่นตุ๊กตา ส่วน โครงการงานก่อสร้างทำไมต้องเอาตุ๊กตาของเด็กๆ...
Continue »
ก่อนอื่นต้องสวัสดีพี่ๆ น้องๆ ชาววิศวกรรมโยธาทุกคน ต้องขอเกริ่นนำครับ ตอนสมัยที่ผู้เขียนจบการศึกษาใหม่ๆ ครับ ได้ควบคุมงานโครงการก่อสร้างหลังหนึ่ง ทางวิศวกรโครงการก็มอบหมายให้งานก่อสร้างให้โชว์ผลงานทั้งหลังว่างั้นเหอะ!!...
Continue »
ตัวอย่างการออกแบบบันไดคอนกรีตเสริมเหล็กแบบท้องเรียบ (Reinforced Concrete Stair Design) ซึ่งเป็นรูปแบบบันไดที่เราสามารถพบเห็นได้โดยทั่วไป เนื่องจากบันไดแบบท้องเรียบสามารถออกแบบและทำการก่อสร้างได้ง่าย ไม่มีกระบวนการซับซ้อนมากนัก...
Continue »
หน่วยทางวิศวกรรมและการแปลงหน่วย (Units & Conversions) เมื่อพูดถึงการแปลงหน่วยบางคนก็ร้องอ๋อ… แต่บางคนถึงกับเครียดเพราะว่าไม่รู้จะแปลงอย่างไร กดเครื่องคำนวณกดแล้วกดอีกก็ยังไม่มั่นใจ (ประสบการณ์ตรง ) นั่นก็เพราะไม่เข้าใจพื้นฐานของหน่วยนั้นๆ...
Continue »
นับตั้งแต่ที่มนุษย์ถือกำเนิดขึ้นบนโลก ความเป็นนักประดิษฐ์ของเราก็ได้พัฒนามาอย่างต่อเนื่อง ด้วยสมองที่ซับซ้อน การสังเกตุ และข้อสงสัยต่างๆ ทำให้เรารู้จักประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ...
Continue »
ตัวอย่างการออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กหลักสองทาง หรือที่เราเรียกกันติดปากว่า “พื้นสองทาง” (Two Way Slab) นั่นเองครับ ซึ่งเจ้าพื้นสองทางนี้ก็คือพื้นที่มีอัตราส่วนด้านสั้นต่อด้านยาว (S/L) มากกว่า 0.5...
Continue »
พื้นยื่น (Cantilever Slab) มีวิธีการคำนวณออกแบบเหมือนกับพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวนั่นแหละครับ...
Continue »
รายการคำนวณเสาคอนกรีตเสริมเหล็ก : เสาสั้น (Reinforced Concrete Column : Short Column) เสาสั้นก็คือเสาที่มีอัตราส่วนของความสูงต่อด้านแคบ (h/t) ≤ 15 ซึ่งในตัวอย่างเป็นเสาคอนกรีตที่มีความสูง 3.10...
Continue »
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียว หรือเรียกสั้นๆว่า พื้นทางเดียว (One Way Slab) พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กทางเดียวเป็นพื้นที่มีอัตราส่วนด้านสั้นต่อด้านยาว (S/L) ไม่เกิน 0.5...
Continue »
การออกแบบคาน คสล. (คานต่อเนื่อง : Continuous Concrete Beam Design) โดยจะนำข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์โครงสร้าง มาทำการออกแบบโดยใช้วิธีหน่วยแรงใช้งาน (Working Stress Design) ซึ่งคานตัวนี้เป็นคานต่อเนื่อง 2 ช่วง ความยาวช่วงละ 4...
Continue »
โครงสร้างหลังคา (Roof Structure) เป็นส่วนประกอบที่คลุมอาคารเพื่อให้เกิดพื้นที่ใช้สอย ป้องกันความร้อน ฝน จำแนกตามความลาดชันได้ 3 ประเภทคือ หลังคาเรียบ (Flat roof) หลังคาที่ลาดชัน (Sloped plane-roof) และระบบหลังคาที่ซับซ้อน (Complex roof ...
Continue »
กำแพงกันดิน (Retaining Wall) ใช้ต้านทานแรงดันทางด้านข้างของดิน หรือของไหล เช่น น้ำ และต้านทานแรงเนื่องจากน้ำหนักกดทับจากผิวบน เช่นน้ำหนักยวดยานพาหนะ...
Continue »
การตอกเสาเข็มและความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้ 1. เพื่อให้ได้ระดับปลายเสาเข็มที่กำหนด เครื่องจักรและวิธีการตอก ต้องสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ก่อสร้างจริง การตอกเสาเข็มโดยกรรมวิธี Pre-Bored หรือ Auger Press...
Continue »
โครงสร้างแบบระนาบโครงถัก (Plane Truss) เป็นโครงสร้างที่พบเห็นได้ทั่วไปในโครงสร้างที่มีช่วงพาดยาว เช่น สะพาน หลังคาโรงงาน เป็นต้น โครงสร้างประเภทนี้ จะประกอบขึ้นจากชิ้นส่วนย่อยเชื่อมต่อเข้าด้วยกันด้วยจุดยึดหมุนได้...
Continue »
การเจาะสำรวจดิน (Soil Investigation) ซึ่งโดยทั่วไปจะสามารถทำการเจาะสำรวจดินได้โดยเครื่องเจาะแบบ Rotary Drilling Rig หรือ Motorized Drilling Rig โดยทำการเจาะแบบฉีดล้าง (Wash Boring) ใช้เครื่องสูบน้ำช่วยเจาะด้วยหัวกระทุ้ง (Chopping...
Continue »
Simply-Supported Beam with Concentrated Force at Intermediate Point THEORY & FORMULAE : Bending Of A Straight Elastic Prismatic Beam Consider...
Continue »
การออกแบบฐานรากคอนกรีตเสริมเหล็ก (Design of Concrete Footing) เมื่อพูดถึงฐานรากของโครงสร้าง เราก็จะนึกถึงชิ้นส่วนของสิ่งก่อสร้างชิ้นหนึ่ง ที่วางอยู่ในพื้นดิน บางอันก็วางบนดินโดยตรง บางอันก็วางอยู่บนวัตถุแท่งสี่เหลี่ยมบ้าง กลมบ้าง หรือรูปทรงเรขาคณิตอื่นๆ...
Continue »
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก (Reinforced Concrete Slab) เป็นโครงสร้างที่ทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ ก่อนที่จะส่งถ่ายน้ำหนักบรรทุกเหล่านั้นไปยังคานและเสาต่อไป...
Continue »
เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก (Concrete Column) เป็นองค์อาคารที่ทำหน้าที่หลักในการรับแรงอัดในแนวดิ่ง ซึ่งจะทำหน้าที่รองรับน้ำหนักของโครงสร้างด้านบนไม่ว่าจะเป็นคานหรือพื้น เพื่อส่งถ่ายน้ำหนักเหล่านั้นไปสู่ฐานรากต่อไป แต่ในบางกรณีเสาก็อาจจะทำหน้าที่ในการรับแรงดัด เช่น เสาที่มีหูช้างรองรับ หรือเสาที่มีแรงดันด้านข้าง...
Continue »
ระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็กหรือระยะหุ้มของคอนกรีต (Concrete Covering) ก็คือระยะของคอนกรีตที่ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้เหล็กเสริมสัมผัสกับน้ำหรืออากาศโดยตรงเพื่อทำหน้าที่ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมี...
Continue »
น้ำหนักบรรทุกคงที่ (Dead Load : DL) หมายถึงน้ำหนักบรรทุกที่กระทำอยู่กับที่ คงที่ตายตัว ไม่มีการเคลื่อนย้ายหรือเปลี่ยนแปลงขนาดของน้ำหนัก ถ้าจะให้เห็นลักษณะที่ชัดเจนก็คือชิ้นส่วนของโครงสร้างของอาคารนั่นเอง ซึ่งได้แก่ เสา คาน พื้น หลังคา ผนัง บันได กระเบื้องปูพื้น...
Continue »
น้ำหนักบรรทุกจร (Live Load : LL) หมายถึง น้ำหนักบรรทุกที่เป็นลักษณะมีการเคลื่อนย้าย เคลื่อนที่ หรือมีการเปลี่ยนแปลงขนาดน้ำหนักอยู่ตลอดเวลา หรืออยู่ชั่วคราว เช่น รถยนต์ หิมะ แรงลม ผู้คนที่ใช้อาคาร วัสดุอุปกรณ์สำนักงาน...
Continue »
คาน (Beam) เป็นโครงสร้างหลักของอาคารซึ่งทำหน้าที่รองรับน้ำหนักบรรทุกต่างๆ จากพื้น ผนัง ฯลฯ เพื่อส่งถ่ายน้ำหนักบรรทุกรวมทั้งหมดลงสู่เสาต่อไป ซึ่งสักษณะของคานคอนกรีตเสริมเหล็กโดยทั่วไป จะมีหน้าตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ทั้งนี้เมื่อคานได้รับแรงกระทำ...
Continue »
ในภาวะปัจจุบันการแข่งขันทางด้านธุรกิจรับเหมาก่อสร้างนับว่ามีการแข่งขันที่สูงพอสมควร ดังนั้นผู้ที่กำลังจะผันตนเองมาเป็นผู้ประกอบการรับเหมาก่อสร้างขนาดเล็กก็ควรที่จะหาข้อมูล ทำการวิเคราะห์ตลาด หาจุดด้อยจุดแข็งฯลฯ...
Continue »
การบ่มคอนกรีตเป็นการควบคุมและป้องกันมิให้น้ำในคอนกรีตระเหยออกจากคอนกรีตที่แข็งตัวแล้วเร็วเกินไป เนื่องจากน้ำเป็นองค์ประกอบสำคัญที่สุดสำหรับปฏิกิริยาไฮเดรชั่น ซึ่งจะส่งผลต่อกำลังของคอนกรีตโดยตรง ดังนั้น หลังจากที่ผิวหน้าคอนกรีตแข็งตัวแล้ว...
Continue »
ลักษณะของงานก่อสร้างส่วนใหญ่จะเป็นการทำงานบนที่สูง และงานใต้ดินที่มีระดับชั้นความลึกต่าง ๆ ซึ่งงานเหล่านี้จำเป็นที่จะต้องใช้นั่งร้านในการก่อสร้างงานเพื่อให้แล้วเสร็จ ผู้ใช้แรงงาน ช่าง หัวหน้างาน ตลอดจนวิศวกรที่ทำงานด้านการก่อสร้าง...
Continue »
“การวิบัติ” ในที่นี้หมายถึง การชำรุดของอาคาร หรือส่วนใดส่วนหนึ่งของอาคาร ซึ่งมากจนไม่สามารถจะใช้งานตามวัตถุประสงค์ได้อย่างปลอดภัย ในการออกแบบอาคารโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก จะต้องพิจารณาถึงปัจจัยที่สำคัญๆ หลายประการ เช่น ความแข็งแรงของโครงสร้าง...
Continue »
เมื่อพูดถึงการแปลงหน่วยที่ใช้ในการวัดพื้นที่ เช่น ที่ดินที่ใช้ในการก่อสร้าง ที่ดินที่ใช้ในการขุดเพื่อเป็นแหล่งวัสดุในงานก่อสร้าง ฯลฯ หน่วยการวัดพื้นที่เป็นสิ่งที่สำคัญมากในการทำงาน เพราะบางคนอาจจะรู้จักหน่วยที่ใช้ในการรังวัดพื้นที่แค่หน่วยใดหน่วยหนึ่งเท่านั้น เช่น หน่วยตารางเมตร...
Continue »
ในการทำเสาเข็มเจาะชนิดนี้ ประกอบด้วยอุปกรณ์ค่อนข้างเล็กไม่ยุ่งยาก เคลื่อนย้ายสะดวก ไม่ต้องการบริเวณทำงานมากนัก อุปกรณ์หลักประกอบด้วย ขาหยั่ง 3 ขา ( TRIPOD ) ปลอกเหล็กชั่วคราว (Temporary Casing) กระเช้าตักดิน (Bucket) ลูกตุ้ม (Cylindrical Hammer) และเครื่องกว้านลม...
Continue »
สารผสมเพิ่ม หมายถึง สารเคมีอื่นๆ นอกเหนือไปจาก ปูนซีเมนต์ วัสดุมวลรวม และน้ำที่ใช้เติมลงในส่วนผสมของคอนกรีต ด้วยจุดประสงค์เพื่อปรับเปลี่ยนคุณสมบัติบางประการของคอนกรีต สารผสมเพิ่มจะให้ผลแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติของปูนซีเมนต์ที่ใช้ ขนาด รูปร่าง และส่วนขนาดคละของวัสดุมวลรวม น้ำ...
Continue »
ลักษณะของผู้ควบคุมงานก่อสร้างที่ดี หรือผู้ควบคุมงานที่จะสามารถควบคุม ดูแลงานก่อสร้างให้แล้วเสร็จตามแผนงาน และได้งานที่มีคุณภาพ ควรจะเป็นผู้ที่มีคุณสมบัติส่วนตัวดังต่อไปนี้ 1. มีความรู้และมีประสบการณ์เกี่ยวกับลักษณะงานก่อสร้าง วัสดุก่อสร้าง...
Continue »
เนื่องจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในปัจจุบัน ที่เดินหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง ประกอบกับอิสระทางด้านการออกแบบทางด้านสถาปัตยกรรม ก็ทำให้เราได้เห็นสิ่งก่อสร้างในปัจจุบัน มีรูปแบบที่หลากหลาย ไม่ได้เป็นโครงสร้างรูปสี่เหลี่ยมเพียงอย่างเดียวอีกต่อไป มีส่วนโค้ง ส่วนเว้า...
Continue »
เนื่องจากความต้านทานของคอนกรีตต่อแรงดึงมีเพียง 10% ของความต้านทานต่อแรงอัดเท่านั้น ลำพังคอนกรีตเองจึงไม่สามารถรับแรงดึงได้สูง แต่โดยเหตุที่เหล็กเป็นวัสดุที่ต้านทานต่อแรงดึงได้ดี อีกทั้งมีสัมประสิทธิ์การยึดหดตัวเท่าๆ กับคอนกรีต...
Continue »
โดยทั่วไปแล้ว แบบก่อสร้างอาคารจะประกอบด้วยแบบประเภทต่างๆ คือ – แบบสถาปัตยกรรม – แบบวิศวกรรมโครงสร้าง – แบบวิศวกรรมไฟฟ้า – แบบวิศวกรรมเครื่องกล –...
Continue »
ร้อยร้าวชนิดนี้โดยปกติจะเกิดขึ้นภายใน 2 ถึง 8 ชั่วโมง หลังจากการเทคอนกรีต สาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดรอยแตกร้าวชนิดนี้...
Continue »
น้ำหนักต่างๆ ในอาคารจะถ่ายมาลงเสาโดยเสาจะเป็นองค์อาคารที่รับน้ำหนักในแนวดิ่ง และในบางครั้งต้องรับโมเมนต์ดัดด้วย เสาจะมีรูปแบบ และข้อกำหนดที่แตกต่างกันไปตามรูปแบบของเสา ในการพิจารณาออกแบบเสาจะต้องพิจารณาถึงการรับแรงของเสา...
Continue »
การศึกษาวัสดุศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องกับงานคอนกรีต (Concrete technology) ได้เจริญก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็วมากในศตวรรษนี้ โดยมีงานวิจัยและพัฒนาวัสดุผสมคอนกรีตประเภทอื่น ๆ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือ ต้องการปรับปรุงคุณสมบัติต่าง ๆ ของคอนกรีตให้ ดีขึ้น ทั้งคอนกรีตที่อยู่สภาพเหลว...
Continue »
คุณสมบัติของคอนกรีต (Concrete Properties) การพิจารณาถึงคุณสมบัติของคอนกรีตที่สำคัญๆ จะแยกพิจารณาคุณสมบัติของคอนกรีตใน 2 ลักษณะคือ คอนกรีตในสภาพที่ยังเหลว และ...
Continue »
ชนิดของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก (Types of Concrete Slabs) พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก สามารถพิจารณาแบ่งตามลักษณะของการเสริมเหล็ก และลักษณะของพื้นได้ดังต่อไปนี้ 1. พื้นวางบนดิน (Slab On Ground)...
Continue »
การขนส่งคอนกรีตหรือการลำเลียงคอนกรีต จากจุดที่ผสมคอนกรีต ไปยังจุดที่จะเท ต้องกระทำในลักษณะที่ทำให้คอนกรีตยังคงสภาพสม่ำเสมอ...
Continue »
เมื่อพูดถึง การเจาะสำรวจดิน (Soil Investigation) หลายคนอาจจะมีคำถามขึ้นในใจ (บางครั้งก็นอกใจ) ว่า “ทำไมต้องเจาะสำรวจดิน?” เจอคำถามแบบนี้ก็ตอบยากสักหน่อย เพราะต้องชักแม่น้ำทั้ง 5 มาอธิบายเพื่อให้มีหลักการและเหตุผล แต่เดี๋ยวก่อน!!! ถ้าคุณโทรมาถามภายใน 10 นาทีนี้ เราจะเอาเหตุผลหลักๆ...
Continue »
เทคอนกรีตอย่างไร ให้ได้ระดับตามที่แบบก่อสร้างกำหนด? จะทำไงล่ะคราวนี้ เพิ่งจบมาซะด้วย ตอนฝึกงานก็ถูกใช้ให้ชงกาแฟ กับถ่ายเอกสาร แล้วจะรู้ไหมนี่เรา???? ปัญหาแบบนี้ใครไม่เจอกับตัวเองก็คงจะเครียดพอสมควร...
Continue »
วิธีการและขั้นตอนการวิเคราะห์โครงสร้างเพื่อการออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก สำหรับวิศวกรมือใหม่ที่ยังไร้ประสบการณ์ด้านการออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก...
Continue »
ระบบโครงสร้างป้องกันดินสำหรับงานฐานรากและงานโครงสร้างใต้ดิน โดยใช้โครงสร้างกันดินแบบ Steel Sheet Pile ระบบโครงสร้างป้องกันดิน โดยใช้โครงสร้างกันดินแบบ Steel Sheet...
Continue »
ข้อบังคับสภาวิศวกร ว่าด้วยหลักเกณฑ์และคุณสมบัติของผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมแต่ละระดับ สาขาวิศวกรรมโยธา พ.ศ. ๒๕๕๑ อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๘ (๖) (ฉ) และมาตรา ๔๖ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ....
Continue »
งานเคลียร์พื้นที่ก่อสร้าง ถางป่า ขุดตอ (Clearing and Grubbing) งานเคลียร์พื้นที่ก่อสร้าง ถางป่า ขุดตอ (Clearing and Grubbing) หมายถึง การกำจัดต้นไม้ ตอไม้ พุ่มไม้ เศษไม้ ขยะ วัชพืช และสิ่งอื่นๆ...
Continue »
มาตรฐานวัสดุงานคอนกรีต : หินใหญ่ และ หินย่อย หินใหญ่ต้องเป็นหินที่มีรูปร่างเหลี่ยมค่อนข้างกลม มีส่วนแบนเรียวน้อย ส่วนที่แคบที่สุดต้องไม่ เล็กกว่า 1/3 ของส่วนที่ยาวที่สุด...
Continue »
การออกแบบส่วนผสมของคอนกรีตโดยปริมาตร สำหรับงานก่อสร้างขนาดเล็ก ส่วนใหญ่จะกำหนดส่วนผสมของคอนกรีตโดยปริมาตร เช่น 1: 2 : 4 อัตราส่วนที่กล่าวถึงนี้ คือ ใช้ปูนซีเมนต์ 1 ส่วน ทราย 2 ส่วน หิน 4 ส่วน...
Continue »
การควบคุมคุณภาพของคอนกรีต (Quality Control of Concrete) การควบคุมคุณภาพ (Quality Control) หมายถึง...
Continue »
แบบหล่อคอนกรีต (Concrete Formwork) โดยทั่วไปการดำเนินงานสำหรับงานแบบหล่อจะปฏิบัติตามข้อกำหนดใน ACI 347 “Recommended Practice for Concrete Formwork” จัดทำแบบสำหรับหล่อคอนกรีตให้มีขนาด รูปร่าง แนว...
Continue »
พื้นสำเร็จรูปแบบกลวง HOLLOW CORE SLAB เป็นระบบแผ่นพื้นคอนกรีตสำเร็จรูปแบบกลวงเสริมด้วยลวดอัดแรงผลิตจากคอนกรีตแห้งหรือ NO SLUMP CONCRETE มีความสามารถในการรับน้ำหนักในช่วงค่อนข้างยาวตั้งแต่ 4.0-15.0 เมตร ข้อดีคือ ประหยัดเมื่อเปรียบเทียบกับระบบอื่นเช่น...
Continue »
คอนกรีตมวลเบา (Autoclaved Aerated Concrete : AAC) ผลิตจากส่วนผสมของปูนปอร์ตแลนด์ Type 1 ทราย ปูนขาว ยิบซั่ม และผงอลูมิเนียมที่ใช้เพิ่มฟองอากาศโดยการผสมสูตรที่เหมาะสม และผ่านการ อบด้วยไอน้ำแรงดันสูงทำให้มีฟองอากาศมากถึง 75...
Continue »
วิศวกรโยธา คือบุคคลที่มีหน้าที่รับผิดชอบในการออกแบบวางแผนการทำงานควบคุมดูแลโครงการหรืองานก่อสร้างนั้นๆออกแบบโครงสร้างของอาคารหรือสี่งปลูกสร้างต่างๆให้ถูกต้องตามหลักการของวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมด้านวิศวกรรมโยธาโดยมีลักษณะของงานที่ต้องปฏิบัติ...
Continue »
ลักษณะของคนที่มักไม่ก้าวหน้าในการทำงานหรือมักมีปัญหาในการทำงาน ได้แก่ 1. มีปัญหาในการสื่อความหมาย นับเป็นปัญหาสำคัญมาก เป็นพวกที่พูดกันเข้าใจยาก เข้าใจผิดบ่อย ๆ ขาดสมาธิในการฟัง...
Continue »
วิศวกรรมโยธา (civil engineering) เป็นศาสตร์ของสาขาหนึ่งในทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ ครอบคลุมการก่อสร้างตึก ตึกระฟ้า อาคาร สะพาน ถนน และระบบขนส่งอื่น ๆ รวมถึงระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เช่น เขื่อน คลอง ตลอดจนการทำรังวัดในงานสำรวจและแผนที่...
Continue »
Articles Categories
Civil Engineering
(67)
General
(43)
Other
(12)
Structurals Design
(12)
Civil Engineering Tags
aerated
autoclaved
beam
civil
clearing
concentrated
concrete
control
core
design
engineering
force
formwork
General
grubbing
hollow
investigation
pile
quality
reinforced
sheet
simplysupported
slab
soil
steel
การควบคุมคุณภาพของคอนกรีต
การทำงาน
การออกแบบส่วนผสมของคอนกรีตโดยปริมาตร
ขุดตอ
ข้อบังคับสภาวิศวกร
คอนกรีตมวลเบา
งาน Clearing
งานเคลียร์พื้นที่ก่อสร้าง
งานโครงสร้างใต้ดิน
ถางป่า
มาตรฐานวัสดุงานคอนกรีต
วิศวกรโยธา
สาขาวิศวกรรมโยธา
หินย่อย
หินใหญ่
แบบหล่อคอนกรีต
แผ่นพื้นสำเร็จรูปแบบกลวง
โครงสร้าง
โครงสร้างกันดิน
๒๕๕๑